NTP Server Stratum คืออะไร?

NTP Server Stratum คือ ระบบการอ้างอิงเวลาเป็นลำดับชั้น ใช้ในโปรโตคอล  NTP โดยระบบ Stratum จะมีระดับ Level ตั้งแต่ 0-15 level ซึ่งมีโครงสร้างเป็นแบบต้นไม้ Tree organization ปัจจุบันเรานิยมอ้างอิงเวลากับดาวเทียมนำร่อง GNSS เช่น GPS GLONASS BEIDOU เพราะมีลำดับชั้นคือ Stratum 0 มีความเที่ยงตรงสูงสุด เพราะใช้ตัวกำเนิดสัญญาณนาฬิกาแบบ Cesium เราสามารถยกตัวอย่างของการอ้างอิงเวลาแบบ Stratum ได้ดังตัวอย่างดังรูปด้านล่าง ลำดับการอิงเวลาจะเริ่มจาก Stratum 0 ลงมา โดยตัว NTP Server ของ Elproma ทุกรุ่น เช่น NTS-3000, NTS-4000, NTS-5000 จะทำหน้าที่เป็น Stratum 1 โดยจะเป็นตัว Server ให้แก่ Client ซึ่งอยู่ใน Stratum 2 […]

NTP Server คืออะไร?

Time server, NTP Server,  Master clock หรือ Clock Synchronization Server คือ เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายที่ทำหน้าที่เฉพาะด้าน ในการเปรียบเทียบเวลา หรือเป็นตัวอ้างอิงเวลามาตรฐานที่ได้จากอุปกรณ์ที่มีความเที่ยงตรงสูงกว่าไปยังอุปกรณ์ที่มีความเที่ยงตรงต่ำกว่า ซึ่งในที่นี้เรามองเป็นเป็น Stratum โดยลำดับของ Stratum ที่สูงที่สุดจะใช้ตัว OSC Oscillator หรือตัวกำเนิดสัญญาณนาฬิกาที่เป็น Cesium เป็นตัวอ้างอิง โดยเราจะเรียกอุปกรณ์นี้ว่า Stratum 0 Time server, NTP Server,  Master clock นั้นสามารถนำไปใช้งานในระบบต่างๆ ได้หลากหลายอุตสาหกรรมที่จำเป็นต้องมีการอ้างอิง หรือใช้ค่าเวลามาตรฐานที่มีความเที่ยงตรงและสามารถสอบย้อนกลับได้ ซึ่งโดยทั่วๆ ไปแล้วในชีวิตประจำวัน เราจะใช้เวลาในระบบ UTC (Coordinated universal Time) เป็นเวลาที่ใช้ในการอ้างอิงกัน ซึ่งตัวอย่างระบบที่ใช้ NTP Server ที่รับสัญญาณจากระบบดาวเทียม GPS, GLONASS หรือ GALILEO ในการอ้างอิงเวลานั้นได้แก่ Data Communication […]

ตีแผ่มาตรฐานการสื่อสารไร้สาย IEEE802 และ WSN

จากก่อนหน้านี้ที่เราเคยแนะนำตัวเครือข่ายเซ็นเซอร์ไร้สาย หรือ Wireless Sensor Network (WSN) ไปในหัวข้อ Wireless Sensor Network (WSN) แต่ละโหนดทำหน้าที่อะไร ? ซึ่งคุณคงสงสัยว่าเครือข่าย wsn นั้นอยู่ภายใต้มาตรฐานอะไร วันนี้เราจะมาดูกัน ในปัจจุบันเครือข่ายไร้สายมีการประยุกต์ใช้งานกันมากขึ้น และมีการแบ่งแยกกลุ่มงานวิจัยและพัฒนาออกไปเป็นแต่ละด้านโดยถ้าอ้างอิงตามมาตรฐาน IEEE802 แล้ว สามารถแบ่งออกเป็นส่วนต่างๆ ได้ดังนี้

Wireless Sensor Network (WSN) แต่ละโหนดทำหน้าที่อะไร ?

ปัจจุบันระบบเครือข่ายเซ็นเซอร์ไร้สายหรือ Wireless Sensor Network (WSN) ได้มีการกล่าวถึงในวงการวิจัยมากขึ้น อีกทั้งยังมีการนำเอา WSN มาประยุกต์ใช้งานจริงในภาคส่วนต่างๆ เช่น ทางด้านการทหาร ได้มีการนำใช้ตรวจจับการสั่นสะเทือนเมื่อมีการโจมตีด้วยอาวุธหนักภายในอาณาเขตที่ได้ติดตั้งเซนเซอร์ไว้ หรือตรวจจับการเคลื่อนพลของฝ่ายตรงข้ามที่ผ่านเข้ามาในบริเวณที่กำหนดไว้ ทางด้านธรณีวิทยา ได้มีการนำมาใช้ในการติดตั้งตัวเซนเซอร์ไว้ที่ปากปล่องภูเขาไฟ เพื่อตรวจสอบการสั่นสะเทือน ก่อนที่จะเกิดการระเบิดของภูเขาไฟ แม้กระทั้งทางการสำรวจมหาสมุทร ก็ได้มีการติดตั้งเซนเซอร์ เพื่อตรวจสอบตัวแปรทางด้านฟิสิกส์ต่างๆ เช่น อุณหภูมิ ความดัน ที่ระดับความลึกต่างๆ ซึ่งทั้งหมดนี้เพื่อการนำเอาข้อมูลทางฟิสิกส์ต่างๆ ที่ได้จากการตรวจจับ หรือตรวจวัด จากเครือข่ายเซ็นเซอร์มาประมวลผลวิเคราะห์ที่ส่วนกลาง หรือใช้เป็นข้อมูลทางสถิตเพื่อแบ่งปันให้กับผู้ที่สนใจ ดังนั้น จากตัวอย่างที่ยกมาจะเห็นได้ว่า บริเวณต่างๆ ที่มีการติดตั้งเครือข่ายเซ็นเซอร์นั้น จะเป็นพื้นที่ ที่มีสภาพภูมิศาสตร์ไม่เหมาะกับการเดินสายไฟเพื่อสื่อสารกันระหว่างตัวเซนเซอร์ หรือตัวเซนเซอร์กับศูนย์กลางการเก็บข้อมูล ดังนั้น WSN จึงเป็นตัวเลือกที่ดีสำหรับการประยุกต์ใช้งานเหล่านี้ ในระบบ WSN ที่ถูกติดตั้งนั้นโดยปกติจะประกอบไปด้วยโหนดอยู่ 3 โหนด เซนเซอร์โหนด เพื่อใช้เป็นตัวรับอินพุตจากตัวเซนเซอร์หรือทรานสดิวเซอร์ชนิดต่างๆ เช่น เทอร์โมคัปเปิ้ล อาร์ทีดี สำหรับการตรวจวัดอุณหภูมิ สเตรนเกจ สำหรับการตรวจจับความเครียด ความเค้นในวัตถุ และสามารถใช้เป็นตัวสั่งเอาต์พุต เพื่อไปควบคุมอุปกรณ์ทางไฟฟ้า […]

1 2 3

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    Always Active

    ประเภทของคุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้

  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์

    คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลการใช้งานเว็บไซต์ของคุณ เพื่อเป็นประโยชน์ในการวัดผล ปรับปรุง และพัฒนาประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ ถ้าหากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราจะไม่สามารถวัดผล ปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ได้

Save